วันอังคารที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ต้นพอก


ข้อมูล
รายละเอียด
ภาพประกอบ
ชื่อพฤกษศาสตร์
Parinari anamense Hance

วงศ์
ROSACEAE

ชื่อพื้นเมือง
กระท้อนลอก จัด จั๊ด ตะเลาะ ตะโลก ท่าลอก ประดงไฟ ประดงเลือด พอก มะเมื่อ

ลักษณะทางนิเวศวิทยา (การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ)
พบได้ทั้งป่าดิบ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ จนถึงความสูงจากระดับน้ำทะเลที่ 1,500 ม.

ชนิดป่าที่พบ
ป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณทั่วไปทุกภาค

ลักษณะทางวนวัฒนวิทยา
 - ลำต้น / ลักษณะเนื้อไม้









 - ใบ






- ดอก






- ผล
- ลำต้น/ลักษณะเนื้อไม้ ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นสีน้ำตาล-เทาแตกเป็นร่องตื้นๆและเป็นเกล็ดสี่เหลี่ยมถี่ๆ






- ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือรูปวงรีผิวใบด้านล่างมีขนสีขาวแกมน้ำตาล




- ดอกอกช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว





- ผล ผลสด รูปค่อนข้างกลมหรือรูปกระสวย





การขยายพันธุ์
ใช้เมล็ด

ช่วงเวลาออกดอก-ผล
มกราคม ถึง กุมภาพันธ์

การใช้ประโยชน์และความสำคัญ
ตำรายาไทยใช้ แก่น ต้มน้ำดื่มและอาบแก้ประดง (อาการโรคผิวหนัง เป็นเม็ดขึ้นคล้ายผด คันมาก มักมีไข้ร่วมด้วย) แก้ผื่นคันแดงทั่วตัว ปวดแสบร้อน มีน้ำเหลืองไหลซึม ยาพื้นบ้านใช้ แก่น ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน้ำดื่มแก้หืด เปลือกต้น ประคบแก้ช้ำใน แก้ปวดบวม

แหล่งอ้างอิง
หนังสือพรรณไม้สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 1


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ต้นพอก

ข้อมูล รายละเอียด ภาพประกอบ ชื่อพฤกษศาสตร์ Parinari anamense Hance วงศ์ ROSACEAE ...