ข้อมูล
|
รายละเอียด
|
ภาพประกอบ
|
ชื่อพฤกษศาสตร์
|
Mangifera
indica (L.)
|
|
วงศ์
|
ANACARDIACEAE
|
|
ชื่อพื้นเมือง
|
ตะเคาะซะ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่),
จ๋องบั่วะ(ม้ง)
|
|
ลักษณะทางนิเวศวิทยา (การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ)
|
ประเทศไทยปลูกมะม่วงมานาน
และมีพันธุ์ปลูกมากกว่า 100 พันธุ์ มะม่วงสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิอากาศ
ของประเทศไทยได้ดี ปลูกได้เกือบทั้งประเทศ
จึงเป็นไม้ผลที่มีผู้นิยมปลูกและรับประทานมากเป็นอันดับหนึ่งของประเทศไทย
แต่การเลือกพื้นที่ปลูกให้เหมาะสม ต้องคำนึงถึง
สภาพพื้นที่ที่เหมาะสม
|
|
ชนิดป่าที่พบ
|
พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง
|
|
ลักษณะทางวนวัฒนวิทยา
-
ลำต้น / ลักษณะเนื้อไม้
- ใบ - ดอก - ผล |
- ลำต้น/ลักษณะเนื้อไม้ ลำต้นเนื้อดิน ตั้งตรงเองได้ ขรุขระ สีน้ำตาล
- ใบ ใบเป็นรูปหอก สีเขียวเข้ม เป็นไม้ใบเดี่ยวจะออกเรียงกันเป็นคู่ๆ ไปตามก้านใบ ขอบใบเรียบไม่มีหยัก ปลาบใบแหลม ส่วนโคนใบมน เนื้อใบค่อนข้างจะหนา - ดอก ดอกออกเป็นช่อ ช่อหนึ่งประมาณ 15-20 ดอกลักษณะของดอกเป็นสีเหลืองอ่อน หรือสีนวลๆ - ผล ผลมีเม็ดเดียวแข็ง ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีเหลือง |
|
การขยายพันธุ์
|
ขยายพันธุ์โดยเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
หรือปักชำกิ่ง
|
|
ช่วงเวลาออกดอก-ผล
|
ช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ ออกผลช่วงฤดูร้อน
|
|
การใช้ประโยชน์และความสำคัญ
|
ผลนำมารับประทานได้ทั้วดิบและสุกเนื้อไม้นำมาทำเฟอร์นิเจอร์
ใช้ยอดนำมาประกอบอาหาร
สรรพคุณทางยา มะม่วงดิบมีวิตามินซีสูง
แก้เลือดออกตามไรฟัน
|
|
แหล่งอ้างอิง
|
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนจุนวิทยาคม
|
วันอังคารที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ต้นมะม่วง
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ต้นพอก
ข้อมูล รายละเอียด ภาพประกอบ ชื่อพฤกษศาสตร์ Parinari anamense Hance วงศ์ ROSACEAE ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น